แนวคิดในการจัดการโซ่อุปทานสีเขียว (Green Supply Chain Management)
ประสิทธิภาพของกิจกรรมโลจิสติกส์ตลอดโซ่อุปทาน การลดต้นทุนโลจิสติกส์และความสามารถในการ
ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภคได้อย่างทันเวลา มีคุณภาพและเชื่อถือได้
จึงถือได้ว่าการจัดการโลจิสติกส์สีเขียวเป็นกิจกรรมที่ส าคัญในการจัดการโซ่อุปทาน ซึ่งมีส่วนช่วย
ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการโซ่อุปทานให้มีประสิทธิภาพและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากยิ่งขึ้น ซึ่งสามารถ
สรุปเป็นกรอบแนวคิดการจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานสีเขียวได้ดังแสดงในภาพที่ 2
ภาพที่ 2 แนวคิดการบริหารจัดการโลจิสติกส์และโซ่อุปทานสีเขียว
ซึ่งองค์ประกอบของกิจกรรมด้านโลจิสติกส์และโซ่อุปทานสีเขียว ประกอบด้วย
• การออกแบบสีเขียว (Green Design)
• การจัดซื้อจัดจ้างสีเขียว (Green Procurement/Green Supply)
• การผลิตสีเขียว (Green Manufacturing) หมายถึง การผลิตสินค้าและบริการที่เป็นมิตรกับสังคมและ
สิ่งแวดล้อม โดยค านึงถึงความรับผิดชอบต่อโลก สิ่งแวดล้อมและสังคมมากขึ้น การผลิตสีเขียวสามารถ
ประยุกต์เทคโนโลยีการผลิตสีเขียว ไม่ว่าจะเป็นการปรับปรุงหรือเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตหรือ
ผลิตภัณฑ์เพื่อให้การใช้วัตถุดิบ พลังงาน และทรัพยากรธรรมชาติเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โดยให้
เกิดของเสียน้อยที่สุดหรือไม่มีเลย การผลิตสีเขียวประกอบด้วยองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องกัน 3
องค์ประกอบ ได้แก่
โรงงานสีเขียว (Green Factory) หมายถึง การบริหารจัดการ วางแผนระบบ และดูแล
รักษาการผลิตของโรงงาน ตั้งแต่การจัดซื้อจัดหา การเก็บสินค้าคงคลัง การผลิต การจำหน่าย
และการดูแลพนักงาน ด้วยความมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม
รถรับจ้างรถรับจ้างขนส่งโลจิสติกส์สีเขียว โลจิสติกส์สีเขียว ของไฮเปอร์มาร์เก็ต
เมื่อรถรับจ้างรถรับจ้างขนส่งโลจิสติกส์สีเขียว โลจิสติกส์สีเขียว ถูกจัดเป็นส่วนหนึ่งของการจัดการโซ่อุปทานสีเขียว (Green Supply Chain Management) สำหรับธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่แล้ว !
รถรับจ้างรถรับจ้างขนส่งโลจิสติกส์สีเขียว โลจิสติกส์สีเขียว หรือ Green Logistics คือการจัดการกระบวนการทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้ายสินค้า/วัตถุดิบ และข้อมูลข่าวสาร ตั้งแต่ต้นน้ำไปจนถึงปลายน้ำของโซ่อุปทาน ทั้งไปข้างหน้าและย้อนกลับ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการลดผลกระทบเชิงลบต่อระบบนิเวศน์ที่เกิดจากการดำเนินกิจกรรมโลจิสติกส์ทั้งหมด ได้แก่ การรถรับจ้างขนส่งโลจิสติกส์สีเขียว การบริหารสินค้าคงคลัง การเลือกที่ตั้งและการจัดการคลังสินค้า การจัดซื้อและจัดหาสินค้า การพยากรณ์อุปสงค์ การขนถ่ายวัสดุและการบรรจุภัณฑ์ การสื่อสารด้านโลจิสติกส์และการดำเนินการด้านคำสั่งซิ้อ การบริการลูกค้า และโลจิสติกส์ย้อนกลับ
รถรับจ้างรถรับจ้างขนส่งโลจิสติกส์สีเขียว โลจิสติกส์สีเขียว ถูกจัดเป็นส่วนหนึ่งของการจัดการโซ่อุปทานสีเขียว (Green Supply Chain Management) ซึ่งสำหรับธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่แล้ว โซ่อุปทานจะประกอบด้วย ซัพพลายเออร์ ศูนย์กระจายสินค้า ร้านค้าปลีก และลูกค้า ทั้งนี้ การกระจายสินค้าของธุรกิจค้าปลีกสมัยใหม่ โดยเฉพาะไฮเปอร์มาร์เก็ต ที่มีร้านสาขาจำนวนมาก ต้องอาศัยการใช้ศูนย์กระจายสินค้า (Distribution Center) ในการเป็นตัวกลางเชื่อมโยงสินค้าจากซัพพลายเออร์ไปยังร้านสาขา โดยมักมีการทำ Cross-docking ภายในศูนย์กระจายสินค้า เพื่อลดการจัดเก็บสินค้า ตลอดจนสนับสนุนให้การรถรับจ้างขนส่งโลจิสติกส์สีเขียว สินค้าเกิดความรวดเร็วและมีต้นทุนต่ำ เนื่องจากในธุรกิจไฮเปอร์มาร์เก็ตนั้น การรถรับจ้างขนส่งโลจิสติกส์สีเขียว ถือเป็นกิจกรรมโลจิสติกส์ที่ส่งผลโดยตรงต่อขีดความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจ รวมทั้งยังเป็นกิจกรรมที่สร้างผลเสียต่อสิ่งแวดล้อมโดยการปล่อยก๊าซเรือนกระจกมากที่สุด
ดังนั้นธุรกิจค้าไฮเปอร์มาร์เก็ตจึงต้องแสวงหาแนวทางในการลดผลกระทบเชิงลบต่อสิ่งแวดล้อมจากการดำเนินกิจกรรมโลจิสติกส์ทั้งฝั่งขาเข้า (Inbound Logistics) ที่เกี่ยวข้องกับ การจัดหาสินค้าจากซัพพลายเออร์ การรถรับจ้างขนส่งโลจิสติกส์สีเขียว สินค้าเข้าสู่ศูนย์กระจายสินค้า และโลจิสติกส์ฝั่งขาออก (Outbound Logistics) ที่เกี่ยวข้องกับ การจัดการคำสั่งซื้อ การทำ Cross-docking ไปจนถึงการรถรับจ้างขนส่งโลจิสติกส์สีเขียว สินค้าจากศูนย์กระจายสินค้าไปยังร้านสาขา
หากพิจารณากระบวนการโลจิสติกส์ทั้งหมด การจัดหาสินค้า (Procurement) ถือเป็นกิจกรรมแรกๆ ที่ไฮเปอร์มาร์เก็ตต้องเข้าไปเกี่ยวข้องในโลจิสติกส์ฝั่งขาเข้า เมื่อผนวกเข้ากับแนวคิดด้านสิ่งแวดล้อม การจัดหาสีเขียว หรือ Green Procurement จึงเป็นแนวปฏิบัติสำหรับการคัดเลือกซัพพลายเออร์และการจัดซื้อสินค้า ที่พิจารณาจาก ความสามารถในการออกแบบเชิงนิเวศ ความสามารถในการพัฒนาสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ผลการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม และความสามารถของซัพพลายเออร์ในการสนับสนุนวัตถุประสงค์ด้านสิ่งแวดล้อมของผู้ซื้อ นอกจากนี้ ยังรวมถึงหลักการ 3Rs: การใช้ซ้ำ (Reuse) การรีไซเคิล (Recycle) และการลด (Reduce) ในกระบวนการจัดซื้อ อาทิ การสั่งซื้อสินค้าผ่านระบบออนไลน์เพื่อลดการใช้กระดาษ (Paperless) ตลอดจนการตรวจสอบการปฏิบัติตามข้อกำหนดด้านสิ่งแวดล้อมและการหาแนวทางการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างต่อเนื่องของซัพพลายเออร์
ตัวอย่างการจัดหาสีเขียวของไฮเปอร์มาร์เก็ต ได้แก่ การทำงานอย่างใกล้ชิดของ Walmart กับซัพพลายเออร์ เพื่อลดการใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง เช่น การจัดหาอาหารทะเลที่ได้การรับรองจาก Marine Stewardship Council ซึ่งเป็นหน่วยงานที่ป้องกันการสูญพันธ์ของสัตว์ทะเลจากการถูกจับจากแหล่งน้ำธรรมชาติ หรือในกรณีเทสโก้ โลตัส ของไทย ที่รับซื้อผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรจากเกษตรกร โดยไม่ผ่านพ่อค้าคนกลาง ตลอดจนการร่วมวางแผนรับซื้อผลิตผลทางการเกษตรล่วงหน้ากับเกษตรกร ซึ่งนอกจากจะทำให้เกษตรกรมีรายได้ที่เป็นธรรมและมั่นคง ยังทำให้เกษตรสามารถวางแผนการผลิตได้เพียงพอต่อความต้องการของตลาด ซึ่งช่วยลดปัญหาผลผลิตล้นตลาดและเสียหายจากคุณภาพสินค้าจนเกิดเป็นของเสียสู่สิ่งแวดล้อม การจัดหาสินค้าจากเกษตรกรโดยตรงยังเป็นการลดความยาวของโซ่อุปทาน ส่งผลให้สามารถลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ จากการลดจำนวนเที่ยวการรถรับจ้างขนส่งโลจิสติกส์สีเขียว และการเคลื่อนย้ายสินค้าระหว่างสมาชิกในโซ่อุปทานโดยไม่จำเป็น